MASTER AND DOCTORAL DEGREES

M.Eng. (Electrical Engineering)
M.Eng. in Electrical Engineering are for professional engineers as well as newly graduates who want to specialize in a specific area of EE. The degree welcomes students from various science and engineering background.
Just check it out.

SEE CURRICULUM

M.Eng. (ICTES)
Scholarships are available >> CHECK 
The master of engineering in information and communication technology  (ICTES) program is a collaboration between NSTDA, TAIST Tokyo Tech, Kasetsart University, and Sirindhorn International Institute of Technology (SIIT).

SEE CURRICULUM

D.Eng. (Electrical Engineering)
Full refund of tuition fee is available to all PhD students in Engineering faculty!!! Since EE research groups are extensive, we encourage every prospective students to discuss research topics and available facilities   with one of our academics to gain more insight and less confusion at the earliest stage. "Well begun is half done"

SEE CURRICULUM

Study Tracks

เมื่อจบปริญญาโทและเอกในสาขานี้ สามารถทำงานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าสื่อสาร โทรคมนาคม และเครือข่ายสื่อสาร ในอุตสาหกรรมดิจิทัล และอุตสาหกรรมเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำงานในหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ และบริษัทผู้ให้บริการติดตั้งระบบโทรคมนาคม หรือบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น

ทุนการศึกษา

คณาจารย์ใกล้ชิด

รายชื่ออาจารย์ที่ทำวิจัยในสาขาประมวลสัญญาณและผลงานวิจัยใน Google Scholar ดังต่อไปนี้

จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

วิชาต่างๆ ที่เปิดสอนทางสาขาสื่อสารและสายอากาศ ดังต่อไปนี้

  • 01205512 กระบวนการสโทแคสติก (Stochastic Processes)
  • 01205517 การรับรู้ระยะไกลและการแปลความหมาย (Remote Sensing and Interpretation)
  • 01205518 หลักการเรียนรู้ของเครื่องและการประยุกต์ใช้ (Principle of Machine Learning and its Applications)
  • 01205521 ระบบสื่อสารดิจิทัล (Digital Communications Systems)
  • 01205522 การตรวจจับและประมาณค่าสัญญาณ (Signal Detection and Estimation)
  • 01205524 ทฤษฎีการเข้ารหัสแหล่งกำเนิดและการบีบอัดข้อมูล (Source Coding Theory and Data Compression)
  • 01205526 การสื่อสารไร้สายไมโม (MIMO Wireless Communications)
  • 01205527 เครือข่ายสื่อสารข้อมูล (Data Communication Networks)
  • 01205528 การออกแบบระบบสื่อสารไร้สาย (Wireless Communication System Design)
  • 01205542 ทฤษฎีและการออกแบบสายอากาศ (Antenna Theory and Design)
  • 01205543 สนามแม่เหล็กไฟฟ้าเชิงคำนวณ (Computational Electromagnetics)
  • 01205544 การออกแบบวงจรไมโครเวฟ (Microwave Circuit Design)
  • 01205581 การประยุกต์สถิติสำหรับวิศวกรไฟฟ้า (Applied Statistics for Electrical Engineers)

การเชื่อมต่อหน่วยงานรัฐและอุตสาหกรรม

หน่วยงานที่รับนิสิตในสาขานี้ ไปทำงาน

  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • Thaicom
  • สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

เมื่อจบปริญญาโทและเอกในสาขานี้ สามารถทำงานที่เกี่ยวข้องกับ ระบบควบคุม ระบบควบคุมการผลิต ระบบอัตโนมัติในโรงงาน การออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ การควบคุมหุ่นยนต์ ทั้ง ระบบแขนกล และ หุ่นยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติ เช่น AGV การสร้างระบบเซ็นเซอร์ชั้นสูงผ่านการใช้งานระบบสังเกตการณ์ งานประยุกต์ทางด้านอุตสาหกรรม งานประยุกต์ทางด้านเกษตรกรรมในวงกว้าง

ทุนการศึกษา
  • ทุนการศึกษาผู้ช่วยนักวิจัยโดยสนับสนุน ค่าใช้จ่ายรายเดือน และ ค่าวัสดุในการวิจัย
  • ทุนนิสิตนวัตกรรมโดยสนับสนุน ค่าใช้จ่ายรายเดือน และ ค่าวัสดุในการสร้างนวัตกรรม

คณาจารย์ใกล้ชิด
รายชื่ออาจารย์ที่ทำวิจัยในสาขาประมวลสัญญาณและผลงานวิจัยใน Google Scholar ดังต่อไปนี้

• รศ.ดร. มิติ รุจานุรักษ์ งานวิจัย 

• รศ.ดร.เชาวลิต มิตรสันติสุข งานวิจัย

• รศ.ดร.พีระยศ แสนโภชน์ งานวิจัย

• ผศ.ดร.กาญจนพันธ์ สุขวิชชัย งานวิจัย

• ผศ.ดร. ณัฐวุฒิ ชินธเนศ งานวิจัย

จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

วิชาต่างๆ ที่เปิดสอนทางสาขาควบคุมและหุ่นยนต์ ดังต่อไปนี้

  • ทฤษฎีและการออกแบบหุ่นยนต์
  • ระบบพลวัตและการควบคุม
  • ระบบควบคุมไม่เชิงเส้น
  • การควบคุมเหมาะที่สุด
  • การควบคุมทนทาน
  • เทคโนโลยีหุ่นยนต์บริการ
  • ระบบปฏิสัมพันธ์มนุษย์กับหุ่นยนต์

การเชื่อมต่อหน่วยงานรัฐและอุตสาหกรรม
บริษัทที่รับนิสิตในสาขานี้ ไปทำงาน

ศิษย์เก่าที่จบในสาขานี้
  • นายสกล กงแก้ว ปริญญาเอกวิศวกรรมไฟฟ้า เจ้าของบริษัท Active Intelligence
  • ดร. ณัฐวุฒิ ชินธเนศ ปริญญาเอกวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • นายออมทรัพย์ พันธ์ลิมา ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
  • ดร.จันทร์ อัญญะโพธิ์ ปริญญาเอกวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
  • นางสาวภัทรพร ทับทิมทอง ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท Seagate Technology (Thailand) Co., Ltd.

เมื่อจบปริญญาโทและเอกในสาขานี้ สามารถทำงานที่เกี่ยวข้องกับ การออกแบบอุปกรณ์ วงจร และระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อใช้งานด้านต่าง ๆ อาทิ การออกแบบระบบจัดการพลังงานจากพลังงานสะอาดและพลังงานทางเลือก การออกแบบอุปกรณ์ทรานซิสเตอร์และ MEMS การออกแบบระบบดิจิทัล การออกแบบวงจรรวมแอนะล็อกและวงจรรวมแบบสัญญาณผสม

ทุนการศึกษา
  • ทุนการศึกษาผู้ช่วยนักวิจัยโดยสนับสนุน ค่าใช้จ่ายรายเดือน และ ค่าวัสดุในการวิจัย
  • ทุนนิสิตนวัตกรรมโดยสนับสนุน ค่าใช้จ่ายรายเดือน และ ค่าวัสดุในการสร้างนวัตกรรม
คณาจารย์ใกล้ชิด
รายชื่ออาจารย์ที่ทำวิจัยในสาขาอิเล็กทรอนิกส์และผลงานวิจัยใน Google Scholar ดังต่อไปนี้

  • รศ. ดร. ศิริโรจน์ ศิริสุขประเสริฐ (Siriroj_GoogleScholar)
  • รศ. ดร. ศิวพล ศรีสนพันธุ์ (Siwapon_GoogleScholar)
  • รศ. ดร. วรดร วัฒนพานิช (Woradorn_GoogleScholar)
  • ผศ. ดร. ชูเกียรติ การะเกตุ
  • ผศ. ดร. ดุสิต ธนเพทาย
  • ผศ. ดร. นิธิพัฒน์ ทีรฆวณิช (Nithiphat_GoogleScholar)
  • ผศ. ดร. ปฐมาภรณ์ ศรีผดุงธรรม
  • อ. ดร. พิสุทธิ์ รพีศักดิ์
  • อ. กุลภวา จามรมาน
  • อ. ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา

จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

วิชาต่างๆ ที่เปิดสอนทางสาขาอิเล็กทรอนิกส์ ดังต่อไปนี้

  • การออกแบบระบบดิจิทัล
  • การออกแบบวงจรรวมสัญญาณผสม
  • การออกแบบวงจรรวมดิจิทัล
  • ระบบเครื่องกลไฟฟ้าจุลภาค
  • เทคโนโลยีตัวรับรู้
  • อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์แสง
  • เทคโนโลยีอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ
  • เทคโนโลยีเซลล์แสงอาทิตย์
  • การออกแบบวงจรรวมความถี่คลื่นวิทยุ
  • เทคโนโลยีและอุปกรณ์นาโนอิเล็กทรอนิกส์
  • อิเล็กทรอนิกส์ แม่เหล็กและแสงในวัสดุและอุปกรณ์
  • การออกแบบและบูรณาการอิเล็กทรอนิกส์กำลัง

การเชื่อมต่อหน่วยงานรัฐและอุตสาหกรรม

หน่วยงานที่รับนิสิตในสาขานี้ ไปทำงาน

ศิษย์เก่าที่จบในสาขานี้
  • นายสมรรถชัย เทพวิมลเพชรกุล ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท ซิลิคอน คราฟท์ เทคโนโลยี จำกัด มหาชน
  • นายปกรณ์ ประสพศิลป์ ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท ซิลิคอน คราฟท์ เทคโนโลยี จำกัด มหาชน
  • นายธนชัย ลิมปิสวัสดิ์ ปริญญาโท สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท โพรโตเมท จำกัด

เมื่อจบปริญญาโทและเอกในสาขานี้ สามารถทำงานที่เกี่ยวข้องกับ ระบบไฟฟ้ากำลังและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง การปฏิบัติงานและการป้องกัน และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ขั้นสูงในระบบไฟฟ้ากำลังสมัยใหม่ การทำงานในหน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจ และบริษัทผู้ให้บริการติดตั้งระบบไฟฟ้ากำลัง หรือบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ในระบบไฟฟ้ากำลัง เป็นต้น

ทุนการศึกษา

คณาจารย์ใกล้ชิด

รายชื่ออาจารย์ที่ทำวิจัยในสาขากำลังและผลงานวิจัย มีดังต่อไปนี้

  • รศ.ดร. ศิริโรจน์ ศิริสุขประเสริฐ งานวิจัย
  • ผศ.ดร. ดุลย์พิเชษฐ์ ฤกษ์ปรีดาพงศ์ งานวิจัย
  • ผศ.ดร. ปานจิต ดำรงกุลกำจร งานวิจัย (tbc)
  • อ. ยุทธศักดิ์ อุราธรรมกุล             งานวิจัย (tbc)
  • ผศ.ดร. คมสันต์ หงษ์สมบัติ             งานวิจัย
  • ผศ.ดร. สัญชัย เดชานุภาพฤทธา งานวิจัย
  • ผศ.ดร. วีรวุฒิ กนกบรรณกร             งานวิจัย
  • อ.ดร. อัจฉรา พิเชฐจำเริญ             งานวิจัย
  • อ.ดร. เนาวรัตน์ เทพหริรักษ์             งานวิจัย
  • อ.ดร. ณิชเบญญา จันทนจุลกะ ฤกษ์หร่าย งานวิจัย (tbc)
  • อ.ดร. ธงชาติ เกิดผล งานวิจัย
จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

วิชาต่างๆ ที่เปิดสอนทางสาขากำลัง มีดังต่อไปนี้

  • 01205551 การจำลองและพลวัตของระบบกำลัง (Power System Modeling and Dynamics)
  • 01205552 เสถียรภาพระบบกำลัง (Power System Stability)
  • 01205553 การปฏิบัติงาน การควบคุมและการหาค่าเหมาะสมที่สุดของระบบกำลัง (Power System Operation, Control and Optimization)
  • 01205554 วิศวกรรมการป้องกันระบบกำลัง (Power System Protection Engineering)
  • 01205555 การจัดการโครงข่ายระบบกำลังแบบแอคทีฟ (Active Power System Network Management)
  • 01205556 ระเบียบวิธีใช้คอมพิวเตอร์ในระบบกำลัง (Computer Methods in Power System)
  • 01205559 การวางแผนบำรุงรักษาสินทรัพย์ในระบบจำหน่ายกำลังไฟฟ้า (Asset Maintenance Planning in Power Distribution Systems)
  • 01205571 พลวัตของเครื่องจักรกลไฟฟ้า (Dynamics of Electrical Machines)
  • 01205572 เครื่องแปลงผันกำลังสามเฟส (Three-Phase Power Converters)
  • 01205575 การวิเคราะห์ฟอลต์ที่ไม่สมดุล (Unbalanced Faults Analysis)
  • 01205576 วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูงขั้นสูง (Advanced High Voltage Engineering)
  • 01205577 ระบบสะสมพลังงานแบตเตอรี่ (Battery Energy Storage System)
  • 01205578 ความเชื่อถือได้ของระบบจำหน่ายกำลังไฟฟ้า (Power Distribution System Reliability)

การเชื่อมต่อหน่วยงานรัฐและอุตสาหกรรม

หน่วยงานที่รับนิสิตในสาขานี้ ไปทำงาน

  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
  • การไฟฟ้านครหลวง
  • การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
  • บริษัทพลังงานบริสุทธิ์จำกัด (มหาชน)

เมื่อจบปริญญาโทและเอกในสาขานี้ สามารถทำงานที่เกี่ยวข้องกับ การประมวลข้อมูล สัญญาณ เสียง ภาพ และวีดิทัศน์ เพื่อนำไปประยุกต์ใช้งานในการบริหารจัดการบุคคล งานประยุกต์ทางด้านอุตสาหกรรม งานประยุกต์ทางด้านเกษตรกรรมในวงกว้าง

ทุนการศึกษา
ทุนการศึกษาต้นกล้านักวิจัยปริญญาโท ซิว-เสงี่ยม กาญจนจารี ให้ทุนการศึกษา 2 ปี 6 เดือน โดยสนับสนุนค่าเล่าเรียน ค่าใช้จ่ายรายเดือน และค่าเดินทางเพื่อนำเสนอผลงานต่างประเทศ โดยทำงานวิจัยเกี่ยวกับการประมวลผลภาพ สนใจติดต่อ ศ.ดร. วุฒิพงศ์ อารีกุล

คณาจารย์ใกล้ชิด
รายชื่ออาจารย์ที่ทำวิจัยในสาขาประมวลสัญญาณและผลงานวิจัยใน Google Scholar ดังต่อไปนี้
• ศ.ดร. วุฒิพงศ์ อารีกุล งานวิจัย
• รศ.ดร.สมหญิง ไทยนิมิต งานวิจัย
• รศ.ดร.เอกชัย ไพศาลกิตติสกุล งานวิจัย
• ผศ.ดร.ธีรสิทธิ์ เกษตรเกษม งานวิจัย
• ผศ.ดร.พันศักดิ์ เทียนวิบูลย์ งานวิจัย
• ผศ.ดร.เด่นชัย วรเศวต งานวิจัย

จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

วิชาต่างๆ ที่เปิดสอนทางสาขาการประมวลสัญญาณ ดังต่อไปนี้
• 01205512 กระบวนการสโทแคสติก (Stochastic Processes)
• 01205514 การประมวลผลและการวิเคราะห์สัญญาณ (Signal Processing and Analysis)
• 01205515 การประมวลภาพและวีดิทัศน์ (Image and Video Processing)
• 01205516 วิทัศน์คอมพิวเตอร์และหุ่นยนต์ (Computer and Robot Vision)
• 01205517 การรับรู้ระยะไกลและการแปลความหมาย (Remote Sensing and Interpretation)
• 01205518 หลักการเรียนรู้ของเครื่องและการประยุกต์ใช้ (Principle of Machine Learning and its Applications)
• 01205519 การรู้จำแบบรูป (Pattern Recognition)
• 01205581 การประยุกต์สถิติสำหรับวิศวกรไฟฟ้า (Applied Statistics for Electrical Engineers)
• 01205586 การเรียนรู้แบบไม่มีผู้สอนและแบบเสริมกำลัง (Unsupervised and Reinforcement Learning)
• 01205588 การออกแบบระบบไบโอเมตริก (Biometric System Design)

การเชื่อมต่อหน่วยงานรัฐและอุตสาหกรรม
บริษัทที่รับนิสิตในสาขานี้ ไปทำงาน
• บริษัทจันวาณิชย์ ซีเคียวริตี้ พริ้นท์ติ้ง จำกัด https://www.chanwanich.com/

ศิษย์เก่าที่จบในสาขานี้
• นายพีรณัฏฐ์ ทูลแสงงาม ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า ผู้ก่อตั้งและผู้บริหารบริษัท Muze https://www.muze.co.th/ 
• นายธวัชชัย บานใหม่ ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท AIS
• นายวันธวัช อินทโต ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท ปตท.
• นายณัฐพงศ์ เศียรสวัสดิ์ ปริญญาโทวิศวกรรมไฟฟ้า บริษัท วิทยุการบิน

RESEARCH HIGHLIGHTS